หากใครกำลังเป็น ทิ้งของเก่าไม่ลง ปล่อยรกเต็มบ้าน
เคยสังเกตตัวเองไหม ของใช้ในบ้านที่เรามีเยอะแยะเต็มไปหมด เก็บเอาไว้มานานพอถึงเวลาเก็บจัดของจัดบ้านก็กลับทิ้งของเหล่านั้นไม่ลงสักที เพราะมีความคิดที่ว่าวันใดวันหนึ่ งในวันข้างหน้าเราก็จะได้ใช้ประโยชน์จากมัน อยู่ดีๆก็นึกเสียดายมาซะงั้น ทั้งๆที่บางชิ้นอาจจะลืมไปแล้วว่ามี บางชินอาจจะไม่ได้นึกถึง คุณกำลังเป็นความรู้สึกแบบนี้อยู่ใช่ไหม หากคุณเป็นนั่นแสดงว่าคุณอาจเ สี่ ย งที่จะเป็น โ ร คประเภทหนึ่ งได้เลย
ทางด้านเพจ ส ม า ค ม จิ ต แ พ ท ย์ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ได้ให้ข้อมูลว่า อาการทิ้งของไม่ลง เป็นอาการที่เพิ่งถูกเพิ่มเข้ามาใหม่ในเกณฑ์วินิจฉัยโรคทาง จิ ต เ วช เมื่อปี พ.ศ. 2556 นี้เอง ด้วยเหตุว่าเป็น โ ร ค ใหม่ ในภาษาไท ยจึงไม่มีศัพท์ที่ใช้เรียกอย่างเป็นทางการ จึงตั้งชื่อให้เข้าใจแบบง่ายๆว่า “ โ ร ค ทิ้ งของไม่ลง ” หรือ “ โ ร ค เก็บสะสมของ ” จากการศึกษาในต่างประเทศได้พบว่า จะพบเจอได้บ่อยราว 2-5% ในกลุ่มบุคคลปกติทั่วไป และส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นกับคนโสด โดยอาจเริ่มมีอาการมาเรื่อยๆ ตั้งแต่สมัยวัยรุ่น จนถึงเป็นผู้ใหญ่วัยกลางคน
มีอาการอย่างไรบ้าง
1 เก็บของเหล่านั้นไว้มากจนเกินไป ถึงแม้ว่าของเหล่านั้นจะไม่ได้มีประโยชน์ หรือคิดว่าจะมีโอกาสได้ใช้ประโยชน์ในวันข้างหน้า
2 มีความลำบากใจที่จะเข้าใจทิ้งของเหล่านั้น หรือตัดใจทิ้งของเรานั้นไม่ลง โดยส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นจากความคิด และความเสียดายต่างๆนานา รู้สึกไม่สบายใจถ้าหากว่าเราทิ้งของนั้นไป
3 ของสะสมมักจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จนเป็นการรบกวนการใช้ชีวิตในประจำวันของเรา เช่น วางไว้ในห้องจนไม่มีที่เดิน วางล้นบนโต๊ะทำงาน หรือถ้าสะสมของไปเยอะจนมีผลเสียต่อสุขภาพของเรา
ความแตกต่าง
ในกรณีของคนปกติทั่วไป หลายๆคนอาจจะมองว่าคนเก็บของสะสมที่ชอบมากๆ แต่คนปกตินั้นจะเก็บของที่ตัวเองชอบไว้ในจำนวนหนึ่ งซึ่งไม่ได้มากจนเกินไป เก็บไว้อย่างเป็นที่เป็นทาง อาจจะเก็บไว้ในตู้โชว์ หรือเก็บไว้ในห้องเพื่อไม่ให้รกบ้าน
แต่ในกรณีผู้ที่เป็นโ ร คเก็บสะสมของ จะเก็บสะสมของเอาไว้มากๆ เก็บทุกอย่างจนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตของตัวเอง ไม่ได้เก็บแค่เฉพาะของที่ชอบ แต่เก็บทุกอย่างเพราะทิ้งไม่ลงจนล้นอยู่เต็มบ้าน
มีวิธีรักษาอย่างไร?
แพทย์จะพิจารณาจากอาการดูก่อน จากนั้นจะ รั ก ษ าโดยใช้ย าที่อยู่ในกลุ่มของย า ต้ า น อาการซึมเศร้ า และให้ปรับเปลี่ยนพฤติก ร ร ม โดยสอนให้ทิ้งของที่ไม่จำเป็น เก็บของให้เป็นระเบียบ แยกแยะสิ่งของจำเป็น หรือไม่จำเป็นให้ชัดเจนไป ต้องฝึกตัดใจทิ้งของที่ไม่จำเป็นเรื่อยๆ อาจเวลาเป็นเดือน หรือเป็นปี
ขอบคุณข้อมูลจาก : เพจ สมาคมจิ ต แพทย์แห่งประเทศไท ย